|
วัตถุประสงค์
1.สามารถทำ
การกำหนดผังบัญชี ในส่วนของหนี้สินเพิ่มขึ้นมาใหม่ เช่น
บัญชี
อาคาสำนักงาน เจ้าหนี้เงินจอง เจ้าหนี้เงินทำสัญญา เจ้าหนี้เงินดาวน์
2.กำหนดกลุ่มบัญชิสินค้า เพื่อให้ทำการบันทึกกลุ่มรหัสสินค้า
3.กำหนดรหัสสินค้าที่มี Stock เพื่อให้สามารถดูยอดคงเหลือหรือรายงาน
สินค้าได้ตลอดจนสินค้าบริการ
4.การกำหนดเอกสารรับเงินมัดจำ เมื่อลูกค้าตกลงทำสัญญาซื้อบ้าน กับทาง
บริษัท ทางบริษัทจะได้รับเงินจอง และเงินทำสัญญา
|
เอกสารประกอบธุรกิจขายอสังหาริมทรัพย์
การเตรียมข้อมูลเบื้องต้น
ขั้นตอนที่ 1 ทำการกำหนดผังบัญชี ในส่วนของหนี้สินเพิ่มขึ้นมาใหม่ ที่เมนู Enterprise Manager
> GL Setup > กำหนดรหัสบัญชี
บัญชี |
หมวด |
เลขที่บัญชี |
อาคารสำนักงาน |
ทรัพย์สิน |
12420-00 |
เจ้าหนี้เงินจอง |
หนี้สิน |
21200-02 |
เจ้าหนี้เงินทำสัญญา |
หนี้สิน |
21200-03 |
เจ้าหนี้เงินดาวน์ |
หนี้สิน |
21200-04 |
|
ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกลุ่มบัญชิสินค้า เพื่อให้ทำการบันทึก อาคาร ที่เมนู Enterprise Manager > IC Setup > กำหนดรหัสกลุ่มสินค้า
ขั้นตอนที่ 3 กำหนดรหัสสินค้าที่มี Stock เพื่อให้สามารถดูยอดคงเหลือหรือรายงานสินค้าได้ที่ เมนู Enterprise Manager
> IC Setup > กำหนดรหัสสินค้า
ขั้นตอนที่ 4 ทำการกำหนด รหัสสินค้าบริการ ที่เมนู Enterprise Manager > IC Setup > กำหนดรหัสสินค้าบริการ
ขั้นตอนที่ 5 ทำการกำหนดเอกสารรับเงินมัดจำ ที่เมนู Enterprise Manager > GL Setup > กำหนดเอกสารเชื่อม GL
ขั้นตอนที่ 6 บันทึกรายละเอียดลูกค้าที่ต้องการขายสินค้า ได้ที่เมนู Enterprise Manager >AR Setup >
กำหนดรหัสลูกนี้
ขั้นตอนในการบันทึกรายวันขายอสังหาริมทรัพย์
เมื่อลูกค้ามาดูโครงการและต้องการจะซื้อบ้าน ทางบริษัทจะทำการขายบ้าน โดยราคา บ้าน 3,000,000 บาท จะทำการหักค่าจอง 30,000 บาท หักค่าทำสัญญา 40,000 บาท ส่วนเงินดาวน์ ทางบริษัทให้ลูกค้าผ่อนเงินดาวน์เป็นงวด ๆ ได้โดยใช้เวลา10 งวด เป็นจำนวน 50,000 บาท หลังจากนั้น ลูกค้าจะทำการกู้ธนาคาร เพื่อทำการโอนบ้านในภายหลัง งวดสุดท้ายที่โอนต้องจ่าย 2,880,000 บาท
1. เมื่อลูกค้าตกลงทำสัญญาซื้อบ้าน กับทางบริษัท ทางบริษัทจะได้รับเงินจอง และเงินทำสัญญา โดยบันทึกที่
เมนู Sale Order > SO Data Entry > หน้าจอรับเงินมัดจำ
1.1 รับเงินมัดจำ – เงินจอง สามารถกำหนดรายละเอียดเจ้าหนี้เงินจอง ได้ที่ Sale Order > SO Data Entry > หน้าจอรับเงินมัดจำ
โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีดังนี้
1.2 รับเงินมัดจำ – เงินทำสัญญา สามารถกำหนดรายละเอียดเจ้าหนี้เงินจองได้ที่ Sale Order > SO Data Entry > หน้าจอรับเงินมัดจำ
โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีดังนี้
2. จากนั้นทางบริษัท จะให้ลูกค้าทำการผ่อนเงินดาวน์ (สินค้าบริการ)เป็นงวด ๆ ประมาณ 10 งวด โดยจะถือว่าเงินที่ได้ยังไม่ใช่รายได้ บันทึกรายการได้ที่เมนู Sale Order > SO Data Entry > หน้าจอขายเชื่อ
โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีดังนี้
3. เมื่อรับเงินดาวน์จากลูกค้าจะบันทึกที่เมนู Account Receivable > AR Data Entry > หน้าจอรับชำระหนี้ ซึ่งเงินดาวน์ ทั้ง 10 งวดจะบันทึกรับชำระหนี้ให้ลักษณะ Partial คือโปรแกรมจะเก็บยอดค้างชำระให้จนกว่าจะชำระหนี้ครบ 10 งวด
เมื่อมีการรับชำระหนี้ในงวดถัดไปที่หน้าจอรับชำระหนี้จะแสดง จำนวนเงินทั้งสิ้น ยอดค้างชำระ และยอดชำระ เพื่อให้ทราบว่า
ลูกหนี้รายนี้มียอดค้างชำระหนี้อยู่เท่าไร
4. เมื่อบริษัทได้รับเงินดาวน์ ครบทั้ง 10 งวด ก็จะทำการเปิดบิลขายบ้านโดยจะมีการตัด Stock บ้านทันทีและจะถือว่า
เงินจอง,เงินทำสัญญา เป็นการรับรู้รายได้จริง โดยบันทึก
*หมายเหตุ : สำหรับเงินดาวน์จะถูกตัดที่หน้าจอรับชำระหนี้แล้วทั้ง 10 งวด ดังนั้นให้เก็บยอดเงินดาวน์มาบันทึกเป็น
ส่วนลดท้ายบิล และที่เอกสารเชื่อม GL ให้ผูกผังบัญชีส่วนลดจ่ายเป็นผังบัญชีของเจ้าหนี้เงินดาวน์แทน
โดยโปรแกรมจะสำหรับการบันทึกบัญชีดังนี้
|